การบริหารห้องสมุดยุคThailand 4.0 : อาคารและสถานที่ห้องสมุดยุคThailand 4.0
ด้านอาคารและสถานที่ห้องสมุดยุคThailand4.0
สำหรับโครงการสร้างอาคารใหม่ แนวทางสมัยใหม่ที่นิยมมาก ที่สุดคือการสร้างพื้นที่เปิดโล่ง พื้นที่เปิดโล่งแก้ไขปัญหาความ ไม่แน่นอนบางประการที่กล่าวถึงในส่วนที่แล้ว รวมทั้งความ เป็นไปได้ในการแปลงโครงสร้างใหม่ได้อย่างต่อเนื่องไม่สิ้นสุด การดำเนินงานพื้นที่เปิดโล่งที่ประสบความสำเร็จสูงสุดคือการ ไตร่ตรองอย่างรอบคอบเกี่ยวกับการเชื่อมต่อพื้นที่เหล่านี้ เพื่อเลี่ยงการจราจรที่ไม่จำเป็นผ่านตัวอาคาร ซึ่งอาจเกิดจากบันได ที่วางตำแหน่งไม่เหมาะสม หรือชั้นลอยที่ออกแบบวางแผนไว้ อย่างอ่อนด้อย หรือช่องรับแสงครอบพื้นที่เปิดโล่งเพียงเพื่อ ผลทางสถาปัตยกรรม พื้นที่เปิดโล่งซึ่งเสนอความเป็นไปได้ที่ไร้ขอบเขตช่วยให้การ เตรียมรับสถานการณ์อนาคตผิดพลาดได้ยาก
1.ด้านอาคารและสถานที่ห้องสมุดยุคใหม่
บรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร. (2560). การบริหารห้องสมุดยุคThailand 4.0 : อาคารและสถานที่ห้องสมุดยุคThailand 4.0. สืบค้น 24 มีนาคม 2566, จาก https://lis.kpru.ac.th/?page_id=79&lang=TH
ข้อมูลอื่น ๆ
อาจารย์และนักศึกษา ชั้นปีที่ 2-3 โปรแกรมวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร จำนวน 16 คน ได้เข้าร่วมศึกษาดูงาน ณ หอสมุดแห่งชาติและสำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ
เผยแพร่เมื่อ 9 มีนาคม 2566
บูรณาการการสอนการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้สำหรับครูบรรณารักษ์กับการส่งเสริมการใช้ห้องสมุดด้วยสื่อบอร์ดเกมให้กับนักเรียนโรงเรียนทรัพย์สถิตย์วิทยาคาร
เผยแพร่เมื่อ 8 มีนาคม 2566
การอบรมเชิงปฏิบัติการและการประกวดออกแบบสร้างสรรค์ผลงานสื่อ ด้วยโปรแกรม CANVA หัวข้อ “ห้องสมุดในฝัน” (แบบโปสเตอร์) โครงการ 50 ปี KPRU สู่การพัฒนาท้องถิ่นอย่างยั่งยืน
เผยแพร่เมื่อ 27 มกราคม 2566
ภาพกิจกรรม การแข่งขันตอบปัญหาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์กับการพัฒนาท้องถิ่นอย่างยั่งยืน งาน “50 ปี KPRU” มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร
เผยแพร่เมื่อ 26 มกราคม 2566